ก้าวล้ำด้วยวิทยาศาสตร์

เอ๊กซ์เทอร์ร่า ระบบดักจับและกำจัดปลวกด้วยเหยื่อ เป็นระบบเดียวเท่านั้นที่เกิดขึ้นจากพื้นฐานอันแข็งแกร่งทางวิทยาศาสตร์ และมีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์รับรอง เอ๊กซ์เทอร์ร่าเท่านั้นที่นำชีววิทยาและพฤติกรรมของปลวกมาประยุกต์ใช้เพื่อให้ได้ระบบจัดการที่เหมาะสม ขณะที่ระบบอื่น พยายามลดราคา และมาตรฐานความ เช่นใช้แต่สถานีบนดิน ร่วมกับสารเคมี เพื่อให้ใช้งานง่าย แต่เอ๊กซ์เทอร์ร่ามุ่งเน้นที่ประสิทธิภาพสูงสุดในการป้องกันและการกำจัดปลวกตายยกรัง จึงป็นเหตุผลว่าทำไมเอ๊กซ์เทอร์ร่าจึงเป็นระบบกำจัดปลวกตายยกรังด้วยเหยื่อที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในโลก.

รายชื่องานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิทยาศาสตร์ด้านล่าง เป็นงานวิจัยบางส่วนที่ แสดงให้เห็นถึง เอ๊กซ์เทอร์ร่า ผ่านการพิสูจน์แล้วและมีงานวิจัยหนุนหลังอยู่

ประสิทธิภาพ

5th International Congress on Urban Pests: Singapore, 2005, Evaluating a Termite Interception and Baiting System in Thailand, the Philippines and Australia BC Peters & S Broadbent.

34th International Research Group on Wood Preservation: Brisbane, 2003, Evaluating the Exterra Termite Interception and Baiting System in Australia BC Peters & S Broadbent.

38th International Research Group on Wood Preservation: Wyoming, 2007, Termite Baiting System: A New Dimension of Termite Control in the PhilippinesCM Garcia, MY Giron & SG Broadbent.

การออกแบบสถานี

จากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์แสดงให้เห้นว่าปลวกถูกดึงดูดให้เข้าสถานีขนาดใหญ่กว่าซึ่งใส่เหยื่อได้มากกว่า ทำให้พวกมันกินเหยื่ออย่างเต็มที่และถูกรบกวนน้อยที่สุดในสถานี การรบกวนปลวกเป็นปัจจัยสำคัญที่สำคัญที่สุดในการออกแบบสถานี นี่จึงเป็นเหตุผลให้สถานีเอ๊กซ์เทอร์ร่ามีขนาดใหญ่สุด และมีการออกแบบอย่างเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งจดสิทธิบัตรไว้ให้ไม่มีการรบกวนปลวก

Bulletin of Entomological Review: 2006,The effect of Bait Design on Bait Consumption in Termites (Isoptera: Rhinotermitidae). TA Evans & PV Gleeson.

ผลการทดลองที่สำคัญจากวารสารทางวิทยาศาสตร์ของ CSIRO ด้านบน แสดงให้เห็นว่าสถานีที่ออกแบบให้มีขนาดเล็กซึ่งใช้ในระบบอื่นๆ ไม่เพียงแค่ปลวกจะไม่เข้ากินเหยื่อในสถานีแล้ว แต่ยังอาจเข้าไปกินไม้ภายในบ้านต่อไปด้วย ซึ่งเป็นไปได้ว่าคนบางกลุ่มอาจอธิบายถึงการลดลงของปลวกที่กินเหยื่อในสถานีว่าประชากรในรังลดลงหรือตายยกรัง ขณะที่ความเป็นจริงปลวกได้ละทิ้งออกจากเหยื่อในสถานีซึ่งมีขนาดเล็กเกินไปและถูกรบกวนบ่อยเกินไป

บางทีสิ่งนี้อาจเป็นเหตุผลว่าทำไม่เอ๊กซ์เทอร์ร่า (ซึ่งมีขนาดสถานีใหญ่กว่าและมีการออกแบบให้ไม่รบกวนปลวก) เท่านั้นที่มีความมั่นใจในการรับรองการกำจัดปลวกตายยกรัง และกล้าเสนอการรับประกันความเสียหายจากปลวก 3 ล้านบาท

34th International Research Group on Wood Preservation: Brisbane, 2003,Response of Laboratory Groups of Reticulitermes speratus (Kolbe) to Different Quantities of Food. M Lenz, T Yoshimura & K Tsunoda.

31st International Research Group on Wood Preservation: Hawaii, 2000, Size of Food Resource Determines Brood Placement in Reticulitermes flavipes (Isoptera: Rhinotermitidae). M Lenz, B Kard, JK Mauldin, TA Evans, JL Etheridge & HM Abbey.

ฆ่าระยะไข่และวรรณะสืบพันธุ์

Journal of Economic Entomology: Vol. 94, No. 2, 2001 Bait Matrix for Delivery of Chitin Synthesis Inhibitors to the Formosan Subterranean Termite (Isoptera: Rhinotermitidae) M Guadalupe-Rojas, & J Morales-Ramos.

สารดึงดูดปลวก โฟกัส

Sociobiology: Vol. 48, No. 3, 2006,Field Attraction of Termites to a Carbon Dioxide-Generating Bait in Australia (Isoptera) S Broadbent, M Farr, EJ Bernklau, MS Siderhurst, DM James, & LB Bjostad.

Journal of Economic Entomology: Vol. 98, No. 2, 2005 Attraction of Subterranean Termites (Isoptera) to Carbon Dioxide EJ Bernklau, EA Fromm, TM Judd, & LB Bjostad.



Go to Home Page

เอ๊กซ์เทอร์ร่า จุดจบของปลวก